PMU ทุนทางวัฒนธรรม


ข้อมูลวัฒนธรรม : PA-57000-00002

กลองโมงเซิง
glongmongsheng

กลองมองเซิง มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ยุคสมัยของคนเฒ่าคนแก่ได้สืบทอดมาเป็นรุ่นสู่รุ่น โดยเป็นกาละเล่นดนตรีของคนไทใหญ่ที่มีการร้องรำทำเพลง เป็นการเล่นดนตรีเป็นกลุ่มไม่ต่ำกว่า8คนโดยควบคู่กับการฟ้อนการรำตามจังหวะเพลงส่วนมากจะขึ้นแสดงในงานบุญงานมงคล เช่น งานทำบุญบ้าน งานบวช กองมองเซิงเป็นกลองที่ได้รับอิทธิพลจากชาวไทใหญ่ พบเห็นโดยทั่วไปโดยเฉพาะบริเวณจังหวัด เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ และแม่ฮ่องสอน เรื่องของกลองชนิดนี้มีรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้กลองมองเซิง คือกลองที่ขึงด้วยหนังทั้งสองหน้า มีสายโยงเร่งเสียง รูปร่างคล้ายตะโพนมอญ ไม่มีขาตั้ง แต่มีสายร้อยสำหรับคล้องคอเวลาตี เฉพาะคำว่า “มองเซิง” เป็นภาษาไทใหญ่ โดยที่คำว่า “มอง” แปลว่า “ฆ้อง” ส่วน “เซิง” แปลว่า “ชุด” กลองมองเซิงจึงหมายถึง กลองที่ใช้ฆ้องเป็นชุด เพราะวงกลองมองเซิงจะเน้น เสียงฆ้องเป็นหลักใหญ่


เส้นเวลา (Timeline)
พ.ศ. 2556 - 2556 ....

           เหตุการณ์ :   เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
           ผลกระทบ :   ผลกระทบที่เกิดขึ้นผลกระทบที่เกิดขึ้นผลกระทบที่เกิดขึ้น

     
พ.ศ. 2566 - ....

           เหตุการณ์ :   เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
           ผลกระทบ :   เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผลกระทบที่เกิดขึ้น

     

 

Icon
ประเภทวัฒนธรรม

จับต้องได้ : Tangible.

Icon
หมวดหมู่วัฒนธรรม

ศิลปะการแสดง : PA : Performing Arts ดนตรี
นาฏศิลป์และการละคร
.

Icon
ที่ตั้ง

เลขที่ : ชุมชนสันป่าก่อ ต. รอบเวียง อ. เมืองเชียงราย จ. เชียงราย 57000

Icon
ชื่อผู้ให้ข้อมูลหรือชื่อกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

นางสุรีย์ ผลดี

Icon
ช่องทางติดต่อผู้ให้ข้อมูล

0913277511, 0835168601

Icon
ผู้บันทึกข้อมูล

ผศ.ดร.ศศิพัชร์ หาญฤทธิ์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย :

Icon
แหล่งข้อมูอื่น ๆ
-

มีผู้เข้าชมจำนวน :527 ครั้ง
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ : 17/11/2022 - ปรับปรุงล่าสุดวันที่ : 17/11/2022