PMU ทุนทางวัฒนธรรม


ข้อมูลวัฒนธรรม : KP-70140-00004

การพัฒนาของผ้าทอกะเหรี่ยง
-

การใส่ชุดกะเหรี่ยงในวัยเด็กเป็นชุดสีขาวยาว เพราะเชื่อว่าเด็กวัยที่บริสุทธิ์ เมื่อเข้าสู่วัยสาว หรือมีรอบเดือนครั้งแรกให้ใส่ชุดประจำเผ่า มีลักษณะเป็นทรงกระสอบยาวปักลวดลายอย่างละเอียด และมีผ้าถุงที่มีการทออย่างงดงามปราณีต ให้ส่วมใส่อยู่ภายในบ้าน เป็นเวลา 3 วัน และเป็นชุดที่ส่วมใส่ในงานพิธีกรรมสำคัญ เช่น เกี่ยวข้าวไร่ ก่อเจดีย์ทราย แห่ดอกไม้ (ซ่งทะเดิ่ง) หรือไปร่วมงานที่เกี่ยวกับชาติพันธุ์ ซึ่งบอกถึงลักษณะเผ่าพันธุ์ของตนเอง แต่ในปัจจุบันการสวมใส่ชุดกะเหรี่ยงดั่งเดิมน้อยลงเนื่องจาก ชุดมีความหนา ทำให้ใส่แล้วรู้สึกร้อน ไม่สบายตัว และใช้เวลาในการถักทอแปรรูปนาน จึงมีต้นทุนและราคาจำหน่ายสูง ต่อมาคนรุ่นใหม่ในชุมชนเริ่มเห็นความสำคัญของผ้าทอกะเหรี่ยง จึงมีแนวคิดประยุกต์แปรรูปผ้าทอให้ทันสมัยและมีความหลากหลาย



 

Icon
ประเภทวัฒนธรรม

จับต้องไม่ได้ : InTangible.

Icon
หมวดหมู่วัฒนธรรม

ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล : KP : Knowledge and Practices concerning nature and the การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
.

Icon
ที่ตั้ง

เลขที่ : หินสี ต. ยางหัก อ. ปากท่อ จ. ราชบุรี 70140

Icon
ชื่อผู้ให้ข้อมูลหรือชื่อกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

Icon
ช่องทางติดต่อผู้ให้ข้อมูล

Icon
ผู้บันทึกข้อมูล

นายประเสริฐ สุขแสนไกรศร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี :

Icon
แหล่งข้อมูอื่น ๆ
-
พิกัด GPS

มีผู้เข้าชมจำนวน :68 ครั้ง
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ : 24/05/2024 - ปรับปรุงล่าสุดวันที่ : 24/05/2024