PMU ทุนทางวัฒนธรรม


ข้อมูลวัฒนธรรม : PA-13000-00003 [ ได้รับทุนจากโครงการ ]

กลองรำมะนา
-

กลองรำมะนา เป็นเครื่องตีประเภทกลองขึ้นหนังหน้าเดียว มีลักษณะสั้นหน้ากองขึงด้วยหนังวัว ตึงด้วยหมุดทองแดงโดยรอบ มีเชือกเส้นหนึ่งที่เรียกว่า “สนับ” สำหรับหนุนข้างในโดยรอบ ถ้าหนังกองหย่อนก็สามารถช่วยทำให้เสียงสูง และไพเราะขึ้นได้บรรเลงด้วยการตีด้วยฝ่ามือคู่กับโทนมโหรี กลองรำมะนาเริ่มใช้ประกอบจังหวะในการแสดงร้องเพลง “บันตน” ซึ่งเข้าใจว่าได้รับต้นแบบมาจากชวาและเข้ามาแพร่หลายในไทย ช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ต่อมาได้พัฒนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ในการบรรเลงเพลงประกอบจังหวะการละเล่นพื้นบ้านของไทย เช่น ลำตัด ลิเกลำตัด และลิเกรำมะนา เป็นต้น (สมชัย ชำพาลี, 2560)



 

Icon
ประเภทวัฒนธรรม

จับต้องได้ : Tangible.

Icon
หมวดหมู่วัฒนธรรม

ศิลปะการแสดง : PA : Performing Arts ดนตรี
.

Icon
ที่ตั้ง

เลขที่ : ตำบลภูเขาทอง ต. ภูเขาทอง อ. พระนครศรีอยุธยา จ. พระนครศรีอยุธยา 13000

Icon
ชื่อผู้ให้ข้อมูลหรือชื่อกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

อิหม่ามฮัจยีบุญญา ศรีสมาน

Icon
ช่องทางติดต่อผู้ให้ข้อมูล

Icon
ผู้บันทึกข้อมูล

ญาณิศา เผื่อนเพาะ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา : 2566 Festival

Icon
แหล่งข้อมูอื่น ๆ
-
พิกัด GPS

มีผู้เข้าชมจำนวน :76 ครั้ง
บันทึกข้อมูลเมื่อวันที่ : 11/07/2024 - ปรับปรุงล่าสุดวันที่ : 11/07/2024


BESbswy